หน้าหลัก > ภาคเหนือ > จ.เชียงใหม่ > อ.เมืองเชียงใหม่ > ต.ศรีภูมิ > ขนมศิลาอ่อน ขนมไทย อาหารว่างภาคเหนือ


เชียงใหม่

ขนมศิลาอ่อน ขนมไทย อาหารว่างภาคเหนือ

ขนมศิลาอ่อน ขนมไทย อาหารว่างภาคเหนือ

Share Facebook

Rating: 3.6/5 (11 votes)

ขนมศิลาอ่อน ขนมไทย อาหารว่างภาคเหนือ เป็นขนมไทยที่ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า โดยทั่วไปนิยมนำถั่วเขียวคั่วสุกบดโรยหน้าก่อนรับประทาน ขนมไทยภาคเหนือที่มีลักษณะคล้ายกับขนมเปียกปูน ที่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นอยู่ที่ตัวเนื้อแป้งที่มีลักษณะนุ่มเหนียว รับประทานง่าย และอร่อยกลมกล่อม หอมกลิ่นใบเตย เนื่องใช้ใบเตยเป็นวัตถุดิบในการทำขนม ซึ่งขนมศิลาอ่อนเป็นที่คนอำเภอสวี ของจังหวัดชุมพรที่รู้จักกันดี และเป็นที่นิยมของคนทั่วไป เกิดจากการพยายามดัดแปลง และพัฒนาขนมเปียกปูนที่มีความยุ่งยาก และเสียง่าย จนกระทั่งกลายเป็นขนมศิลาอ่อนที่มีความทันสมัยมากขึ้น โดยใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น
 
ขนมศิลาอ่อน นั้นเป็นขนมไทย ขนมโบราณ ทางภาคเหนือมีลักษณะงหน้าตาสีและรสชาติใกล้เคียงกับ ขนมเปียกปูน แต่ว่าจะมีความแตกต่างกันที่เครื่องโรยหน้าขนม โดยขนมเปียกปูนจะใช้มะพร้าวโรยหน้า ส่วนขนมศิลาอ่อนจะใช้ถั่วโรยหน้าขนม โดยจุดแตกต่างที่เห็นได้ยังชัดเจนเลยคือส่วนผสมที่ใช้โดยขนมศิลาอ่อนจะมีส่วนผสมของน้ำกะทิอยู่ ในขณะที่ขนมเปียกปูนไม่มีจึงต้องโรยด้วยมะพร้าวเพื่อเพิ่มความหอมมันเท่านั้น ขนมศิลาอ่อน นั้นทำมาจากแป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว แป้งถั่วมาผสมกัน รวมถึงส่วนผสมของน้ำเชื่อมและกะทิ บางพื้นที่เรียกว่า ขนมสะละอ่อน หรือบ้างเรียก ขนมสาลาอ่อน โดยบางที่ก็เรียกง่าย ๆ ว่า ขนมถาด โดยขนมศิลาอ่อนมีส่วนผสมดังนี้
 
ขนมไทย นั้นมีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติไทย คือ จะมีความละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรรวัตถุดิบ โดยวิธีการทำ ที่พิถีพิถัน รสชาติอร่อยหอมหวาน และสีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีที่ประณีตบรรจง
 
ขนมไทยภาคเหนือ ส่วนใหญ่จะทำจากข้าวเหนียว และส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้ม เช่น ข้าวต้มหัวหงอก, ขนมเทียน และขนมวง โดยมักทำกันในเทศกาลสำคัญ เช่น วันเข้าพรรษา หรือวันสงกรานต์
 
ขนมที่นิยมทำในงานบุญเกือบทุกเทศกาลคือ ขนมเทียนหรือขนมจ๊อก เป็นขนมที่หาซื้อได้ทั่วไปคือ ขนมปาดซึ่งคล้ายขนมศิลาอ่อน ข้าวอีตูหรือข้าวเหนียวแดง ข้าวแตนหรือข้าวแต๋น ขนมเกลือ ขนมที่มีรับประทานเฉพาะฤดูหนาว ได้แก่ ข้าวหนุกงา ซึ่งจะเป็นงาคั่วตำกับข้าวเหนียว ถ้าใส่น้ำอ้อยด้วยเรียกงาตำอ้อย ลูกก่อ ถั่วแปะยี ถั่วแระ ข้าวแคบหรือข้าวเกรียบว่าว  ลูกลานต้ม
 
ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ขนมพื้นบ้านได้แก่ ขนมอาละหว่า ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายขนมหม้อแกง ขนมเปงม้ง ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายขนมอาละหว่าแต่มีการหมักแป้งให้ฟูก่อน ขนมส่วยทะมินทำจากข้าวเหนียวนึ่ง น้ำตาลอ้อยและกะทิ โดยในช่วงที่มีน้ำตาลอ้อยมากจะนิยมทำขนมอีก 2 ชนิดคือ งาโบ๋ ที่ทำจากน้ำตาลอ้อยเคี่ยวให้เหนียวคล้ายตังเมแล้วคลุกงา กับ แปโหย่ ที่ทำจากน้ำตาลอ้อยและถั่วแปยี มีลักษณะคล้ายถั่วตัด เป็นต้น
 
ส่วนผสม
- ข้าวสารเจ้า 2 กิโลกรัม
- แป้งท้าวยายม่อม 300 กรัม
- น้ำตาลทราย 5 กิโลกรัม
- น้ำตาลปี๊บ 2 กิโลกรัม
- ใบเตย 1 กิโลกรัม
- กะทิคั้นแบบสด ๆ 15 ลิตร
- ถั่วลิสงซอยโรยหน้าขนมสิลาอ่อน
- น้ำปูนใส 20 ลิตร
 
วิธีทำขนมศิลาอ่อน (อาหารของภาคเหนือ, สูตรอาหารเหนือ)
1. เริ่มจากเตรียมน้ำปูนใส โดยการหมักน้ำปูนใสไว้ก่อน 3 วัน เพื่อให้ได้ได้น้ำปูนที่ไม่หยาบ และไม่มีปูนติด หลังจากนั้นเก็บเอาน้ำปูนใสมาทำขนม โดยให้เตรียมน้ำปูนในประมาณ 20 ลิตร
 
2. หลังจากนั้นเริ่มหมักข้าวสารเจ้าในน้ำปูนใสประมาณ 6 ชั่วโมง จากนั้นนำมาโม่เอาแป้งข้าวเจ้า แล้วพักเอาไว้ก่อน โดยนำใบเตยมาปั่นกับน้ำปูนใส แล้วคั้นเอาน้ำใบเตย (กรองด้วยผ้าขาวบาง) พักเอาไว้ก่อน จากนั้นผสมแป้ง โดยนำเอาแป้งข้าวเจ้า น้ำใบเตย และกะทิมาคนผสมให้เป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นนำตั้งกระทะ แล้วนำแป้งที่ผสมทั้งหมดลงไปเคี้ยวในไฟปานกลาง จากนั้นปรุงรสด้วย น้ำตาลทราย และน้ำตาลปี๊บ แล้วเคี้ยวต่อประมาณ 2 ชั่วโมง หรือจนกว่าแป้งเหนียวหนืด
 
3. ขั้นตอนสุดท้ายเทแป้งใส่พิมพ์ หรือถาด จากนั้นพักไว้ให้เย็น แล้วนำไปหั่นเป็นชิ้นพอดีคำ และโรยหน้าด้วยมะพร้าวขูด

บทความท่องเที่ยว, สูตรอาหาร หมวดหมู่: บทความท่องเที่ยว, สูตรอาหาร

ขนมไทยภาคเหนือ, สูตรอาหารเหนือ กลุ่ม: ขนมไทยภาคเหนือ, สูตรอาหารเหนือ

ปรับปรุงล่าสุด : 1 ปีที่แล้ว

สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม

ศิลปะ วัฒนธรรม และแหล่งมรดก ศิลปะ วัฒนธรรม และแหล่งมรดก

สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และอนุสาวรีย์ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และอนุสาวรีย์(8)

แลนด์มาร์ก และอนุสรณ์สถาน แลนด์มาร์ก และอนุสรณ์สถาน(4)

พระราชวัง พระราชวัง(2)

ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี(34)

พิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์(23)

สถานที่ท่องเที่ยวเชิงวิชาการ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงวิชาการ

พิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษา พิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษา(1)

ไร่ สวนเพื่อการศึกษา ไร่ สวนเพื่อการศึกษา(5)

ศูนย์ฝึกอบรม ศูนย์ฝึกอบรม(1)

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์

วัด วัด(80/1270)

มัสยิด มัสยิด(2)

สถานที่เกี่ยวกับศาสนาอื่นๆ สถานที่เกี่ยวกับศาสนาอื่นๆ(17)

โครงการในพระราชดำริ โครงการในพระราชดำริ

โครงการหลวง โครงการหลวง(44)

วิถีชีวิต วิถีชีวิต

หมู่บ้าน ชุมชน หมู่บ้าน ชุมชน(28)

ตลาดท้องถิ่น ตลาดท้องถิ่น(13)

ธรรมชาติ และสัตว์ป่า ธรรมชาติ และสัตว์ป่า

อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตอนุรักษ์ทางทะเล อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตอนุรักษ์ทางทะเล(16)

ดอย และภูเขา ดอย และภูเขา(18)

เขื่อน พื้นที่อนุรักษ์ ทะเลสาบ เขื่อน พื้นที่อนุรักษ์ ทะเลสาบ(25)

น้ำตก น้ำตก(42)

น้ำพุร้อน น้ำพุร้อน(13)

ถ้ำ ถ้ำ(10)

แม่น้ำลำคลอง แม่น้ำลำคลอง(5)

แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอื่นๆ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอื่นๆ(12)

บันเทิง และท่องเที่ยวเชิงเกษตร บันเทิง และท่องเที่ยวเชิงเกษตร

สวนสัตว์ และพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ สวนสัตว์ และพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ(2)

แคมป์สัตว์ และการแสดงสัตว์ แคมป์สัตว์ และการแสดงสัตว์(3)

ฟาร์ม, ไร่, สวน, สวนสาธารณะ และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ฟาร์ม, ไร่, สวน, สวนสาธารณะ และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ(12)

กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมผจญภัย กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมผจญภัย(5)

ช้อปปิ้ง ช้อปปิ้ง

ช้อปปิ้ง และตลาดกลางคืน ช้อปปิ้ง และตลาดกลางคืน(4)

หมายเลขโทรศัพท์สำคัญในการท่องเที่ยว หมายเลขโทรศัพท์สำคัญในการท่องเที่ยว

หมายเลขโทรศัพท์สำคัญในการท่องเที่ยว หมายเลขโทรศัพท์สำคัญในการท่องเที่ยว(1)

บทความท่องเที่ยว, สูตรอาหาร บทความท่องเที่ยว, สูตรอาหาร

รีวิวท่องเที่ยว, รีวิวอาหาร รีวิวท่องเที่ยว, รีวิวอาหาร(14)

เมนูอาหารเหนือ, สูตรอาหารเหนือ เมนูอาหารเหนือ, สูตรอาหารเหนือ(28)

ขนมไทยภาคเหนือ, สูตรอาหารเหนือ ขนมไทยภาคเหนือ, สูตรอาหารเหนือ(17)